พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
สรุปบทบัญญัติระบุมาตรา

หมวด 1
การประกอบกิจการโรงงาน

         มาตรา 7 อำนาจรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงกำหนดประเภท ชนิด ขนาดของโรงงาน
         มาตรา 8
อำนาจรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงควบคุมการประกอบกิจการโรงงาน
           มาตรา 9 รัฐมนตรีกำหนดระเบียบการตรวจสอบโรงงานหรือเครื่องจักร
           มาตรา 10 รัฐมนตรีออกกฎกระทรวงและประกาศกำกับการปฏิบัติของผู้ประกอบกิจการโรงงาน จำพวกที่ 1
           มาตรา 11 รัฐมนตรีออกกฎกระทรวงและประกาศกำกับการปฏิบัติของผู้ประกอบกิจการโรงงาน จำพวกที่ 2
           มาตรา 12 รัฐมนตรีออกกฎกระทรวงและประกาศกำกับการปฏิบัติของผู้ประกอบกิจการโรงงาน จำพวกที่ 3
           มาตรา 13 การเริ่มประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3
           มาตรา 14 ใบอนุญาตสิ้นอายุ
           มาตรา 15 การขอต่ออายุใบอนุญาต
           มาตรา 16 สิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกรณีไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่ต่ออายุใบอนุญาต
           มาตรา 17 โรงงานที่มีเครื่องจักรที่ต่ำกว่าห้าแรงม้าหรือมีคนงานจำนวนต่ำกว่าเจ็ดคน
           มาตรา 18 การขยายโรงงานต้องได้รับอนุญาต
           มาตรา 19 การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเครื่องจักร เนื้อที่อาคารโรงงาน อาคารโรงงานต้องแจ้ง พนักงาน
เจ้าหน้าที่และปฏิบัติตามกฎกระทรวง
           มาตรา 20 การยกเลิก เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติในการประกอบกิจการโรงงาน
           มาตรา 21 การขอรับโอนและออกใบอนุญาตโอนการประกอบกิจการโรงงาน
           มาตรา 22 ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานตาย
           มาตรา 23 การแสดงใบอนุญาต
           มาตรา 24 การเปลี่ยนชื่อโรงงานหรือชื่อผู้รับใบอนุญาต
           มาตรา 25 ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลาย
           มาตรา 26 การย้ายเครื่องจักรต้องยื่นคำขอและได้รับอนุญาต
           มาตรา 27 การย้ายโรงงานไปที่อื่น ถือเป็นการตั้งโรงงานใหม่
           มาตรา 28 การเลิกประกอบกิจการโรงงาน
           มาตรา 29 การเปลี่ยนขนาดของโรงงาน
           มาตรา 30 รัฐมนตรีประกาศกำหนดเขตประกอบการอุตสาหกรรม
           มาตรา 31 การประกอบกิจการโรงงานที่ต้องอยู่ภายใต้บังคับกฎหมายหลายฉบับ


หมวด 2
การกำกับและดูแลโรงงาน

          มาตรา 32 รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีออกประกาศเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง ความปลอดภัยของประเทศหรือของสาธารณชน
           มาตรา 33 โรงงานจำพวกที่ 2 และที่ 3 หยุดดำเนินงาน
           มาตรา 34 กรณีอุบัติเหตุในโรงงาน
           มาตรา 35 อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
           มาตรา 36 พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจจับกุมผู้กระทำผิดตามพระราชบัญญัตินี้ส่งพนักงาน สอบสวน
           มาตรา 37 พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งระงับการประกอบกิจการโรงงาน
           มาตรา 38 การส่งคำสั่งตามพระราชบัญญัตินี้
           มาตรา 39 ปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายสั่งหยุดประกอบกิจการโรงงาน
           มาตรา 40 พนักงานเจ้าหน้าที่ปิดประกาศคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน
           มาตรา 41 สิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกรณีให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน
           มาตรา 42 ผู้ประกอบกิจการต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเข้าจัดการของทางราชการ กรณีแก้ไข ปัญหามลพิษ หรือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
           มาตรา 43 ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 และโรงงานจำพวกที่ 3 ต้องชำระค่าธรรมเนียม รายปีตาม หลักเกณฑ์ วิธีการและอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
          
มาตรา 44 พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวเมื่อผู้เกี่ยวข้องร้องขอ


หมวด 3
บทกำหนดโทษ

          มาตรา 45 กรณีอุบัติเหตุในโรงงาน
           มาตรา 46
          มาตรา 47
          มาตรา 48
          มาตรา 49
          มาตรา 50
          มาตรา 51
          มาตรา 52
          มาตรา 53
          มาตรา 54

           มาตรา 55 ความรับผิดของผู้ประกอบกิจการโรงงาน/สถาปนิก หรือวิศวกร/ผู้ที่ทำงานในโรงงาน หรือคนงานฝ่าฝืนคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการ
           มาตรา 56 ขัดขวางหรือไม่ให้ความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่
           มาตรา 57
           มาตรา 58
           มาตรา 59 ขัดขวางหรือไม่ให้ความสะดวกแก่บุคคลซึ่งปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวง มอบหมายฯ
           มาตรา 60
           มาตรา 61 ผู้ประกอบกิจการโรงงานกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้ถือว่าสถาปนิก หรือวิศวกรที่รับผิดชอบร่วมรับผิดด้วย
           มาตรา 62 ให้ศาลพิจารณาเพิ่มโทษแก่ผู้กระทำผิดซ้ำฐานความผิดเดิม
           มาตรา 63 กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลใด ร่วมรับผิดกรณีนิติบุคคลกระทำความผิด
           มาตรา 64 ผู้ได้รับผลกระทบจากการกระทำผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถือเป็นผู้เสียหายตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
           มาตรา 65 รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีในเขตกรุงเทพมหานครและในส่วน ภูมิภาค


บทกำหนดโทษ

          มาตรา 66
          มาตรา 67
          มาตรา 68